บทความทางวิชาการ เรื่อง การเก็บกู้และทำลายลูกระเบิดใต้สะพานจุฬาลงกรณ์ จ.ราชบุรี นี้ จัดทำขึ้นเพื่อ บันทึกเหตุการณ์และแนวทางการดำเนินการเก็บกู้และทำลายลูกระเบิดสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่จมอยู่บริเวณใต้สะพานจุฬาลงกรณ์ จ.ราชบุรี ซึ่งถือเป็นประวัติศาสตร์ที่สำคัญของจ.ราชบุรี และประเทศไทย และยังถือเป็นกรณีศึกษาที่สำคัญในแวดวงการเก็บกู้และทำลายลูกระเบิดของโลกอีกด้วย
บทความนี้ มุ่งประสงค์เพื่อให้ทุกคนได้มีความรู้และความเข้าใจไปในแนวทางเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วย บทความย่อยต่างๆ ดังนี้
- บทสรุปผู้บริหาร
- ความเป็นมาและความสำคัญ
- การดำเนินการเก็บกู้และทำลายลูกระเบิด
- ด้านความร่วมมือกับต่างประเทศ
- การสำรวจและการค้นหาลูกระเบิด
- ตำแหน่งที่พบลูกระเบิด
- ภาพถ่ายลูกระเบิด
- ข้อมูลลูกระเบิดที่พบ
- การวิเคราะห์สภาพลูกระเบิดทั้ง 7 ลูก
- การพิจารณาหาแนวทางในการเก็บกู้และทำลายลูกระเบิด
- 8 แนวทางที่เป็นไปได้
- เทคนิคในการลดแรงระเบิด
- เครื่องตัดอมภัณฑ์ด้วยน้ำแรงดันสูง
- การหาแนวทางการเก็บกู้และทำลายลูกระเบิด
- ข้อพิจารณาความเสี่ยงที่ควรคำนึง
- การประเมินความเสี่ยง
- ปัจจัยเสี่ยง
- แผนภูมิประเมินความเสี่ยง
- แนวทางการลดความเสี่ยง
- สรุปแนวทางการเก็บกู้และทำลายลูกระเบิดขั้นสุดท้าย
- บรรณานุกรม
ท่านผู้สนใจศึกษาสามารถเข้าไปคลิก เพื่ออ่านรายละเอียดในแต่ละบทความย่อยที่สนใจได้ และหากท่านใดมีข้อสงสัย หรือข้อเสนอแนะที่คิดว่าเป็นประโยชน์ สามารถแสดงความคิดเห็นได้ที่ใต้บทความนั้นๆ
*****************************
ผู้จัดทำ
สถาบันราชบุรี 13 มิ.ย.2562
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น